Accessibility Tools

Skip to main content

วิสัยทัศน์/ พันธกิจ/ ยุทธศาสตร์/ ค่านิยมองค์กร

วิสัยทัศน์

ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ  สภากาชาดไทย เป็นศูนย์กลางการให้บริการโลหิต เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และ ผลิตภัณฑ์ด้านบริการโลหิตของประเทศ ได้เพียงพออย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด ต่อผู้บริจาคโลหิตและผู้ป่วย ด้วยมาตรฐานระดับสากล

  • Rectangle 96

  • Rectangle 94

  • Rectangle 95

พันธกิจ

  • 1. เป็นศูนย์กลางบริหารงานบริการโลหิต เซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และผลิตภัณฑ์ด้านบริการโลหิต ให้เพียงพอและปลอดภัย
  • 2. กำหนดนโยบาย มาตรฐาน และแนวปฏิบัติการให้บริการโลหิตระดับประเทศ
  • 3. เป็นศูนย์กลางห้องปฏิบัติการ และข้อมูลด้านบริการโลหิตของประเทศ
  • 4. ธำรงไว้ซึ่งระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล
  • 5. ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนานวัตกรรมด้านบริการโลหิตอย่างต่อเนื่อง
  • 6. บริหารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตบุคลากร

ยุทธศาสตร์ 2564 – 2570 Strategic Themes

  • 1. ยุทธศาสตร์ด้านการผสานความร่วมมือกับเครือข่าย (Collaborative Strategy)

    1. ยุทธศาสตร์ด้านการผสานความร่วมมือกับเครือข่าย (Collaborative Strategy)

  • 2. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาระบบคุณภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Quality & Enabling IT Strategy)

    2. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาระบบคุณภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Quality & Enabling IT Strategy)

  • 3. ยุทธศาสตร์ด้านความเป็นเลิศและการพึ่งพาตนเอง (Center of Excellence & Self-sustainability Strategy)

    3. ยุทธศาสตร์ด้านความเป็นเลิศและการพึ่งพาตนเอง (Center of Excellence & Self-sustainability Strategy)

  • 4. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาองค์กร (People & Organization Development Strategy)

    4. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาองค์กร (People & Organization Development Strategy)

ค่านิยมองค์กร

  • คุณภาพ

    Quality

  • รับผิดชอบ

    Accountability

  • เอื้ออาทร

    Caring

Continue reading

ข้อมูลผู้บริหาร

ผู้บริหารศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย

ผู้อำนวยการ

รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงดุจใจ ชัยวานิชศิริ

ผู้อำนวยการ

รองผู้อำนวยการ

  • ชื่อ-นามสกุล

    รองผู้อำนวยการ ด้านบริการโลหิต

  • นางสาวภาวิณี คุปตวินทุ

    รองผู้อำนวยการ ด้านปฏิบัติการและบริหาร

ผู้ช่วยผู้อำนวยการ

  • นางสาวปิยนันท์ คุ้มครอง

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านจัดหาโลหิตและภาพลักษณ์องค์กร

  • นางสิณีนาฏ อุทา

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านการบริการโลหิต

  • นายสาธิต เทศสมบูรณ์

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านบริการโลหิตส่วนภูมิภาค

  • ภก.ดร.นรินทร์ กิจเกรียงไกรกุล

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านบริหารศูนย์ผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสมา

  • ภญ.ปิยวดี วิทยาวิวัฒน์

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านการบริหาร

  • ชื่อ-นามสกุล

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี

  • ภญ.วดี รุ่งประดับวงศ์

    ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านการผลิตผลิตภัณฑ์

หัวหน้าศูนย์/ฝ่าย/งาน

  • นางศิริลักษณ์ เพียรเจริญ

    หัวหน้าศูนย์ห้องปฏิบัติการอ้างอิง

  • นายธีระ วิทยาวิวัฒน์

    หัวหน้าฝ่ายจ่ายโลหิตและผลิตภัณฑ์

  • นางสาวนภัสศิริ สมใจ

    หัวหน้าฝ่ายรับบริจาคโลหิตเฉพาะส่วน

  • นางวลาพร พัฒนาพงศ์ศักดิ์

    หัวหน้าฝ่ายเจาะเก็บโลหิต

  • นายเกรียงศักดิ์ ไชยวงค์

    หัวหน้าฝ่ายตรวจคัดกรองโลหิต

  • ภญ.ตรึงตรา ลีลารังสรรค์

    หัวหน้าฝ่ายผลิตส่วนประกอบโลหิต

  • ภญ.นฤมล วระชุน

    หัวหน้าฝ่ายประกันและควบคุมคุณภาพ

  • ภก.วรพงศ์ บุญพาล้ำเลิศ

    หัวหน้าฝ่ายผลิตถุงบรรจุโลหิต อุปกรณ์ และน้ำยา

  • นายอุดม ติ่งต้อย

    หัวหน้าฝ่ายผลิตน้ำยาแอนติซีรัมและผลิตภัณฑ์เซลล์

  • นางพิรญาณ์ พิริยะมานนท์

    หัวหน้าฝ่ายบัญชีและงบประมาณ

  • นางสาวสริญญา เหล่าสุวรรณพงษ์

    หัวหน้าฝ่ายทรัพยากรบุคคล

  • นางสาววรรณศิริ วรรณศิริพิพัฒน์

    หัวหน้าฝ่ายการเงิน

  • นางปุณยนุช รอดเรือง

    หัวหน้าฝ่ายจัดซื้อและพัสดุ

  • นางเสาวลักษณ์ อมาตยกุล

    หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป

  • ภก.อนวัช มิตรประทาน

    หัวหน้าหัวหน้าฝ่ายผลิตผลิตภัณฑ์โลหิต

  • นางสาวสุรัชนี ยอดแสง

    รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายสารสนเทศและเทคโนโลยี

  • นางสาววิภาวรรณ ภมร

    รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายธนาคารเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต

  • นางสาวจุฑารัตน์ แก้วจันทร์เพชร

    หัวหน้างานรับบริจาคโลหิตและพลาสมา สถานีกาชาดที่ 11 วิเศษนิยม บางแค

ภาคบริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย

  • นางสาวพัชรากร กรำกระโทก

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 2 จังหวัดลพบุรี

  • นางสาวประภาภรณ์ อุดมวินิจศิลป์

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 3 จังหวัดชลบุรี

  • นางสาวสมรัก เพชรโฉมฉาย

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 4 จังหวัดราชบุรี

  • นางสาวทิพย์นภา กลิ่นหอม

    หัวหน้างานบริการโลหิต สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ

  • นางสาวศิริลักษณ์ เพียกขุนทด

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา

  • นางวิราศิณี ชัยมณี

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 6 จังหวัดขอนแก่น

  • นางทัศนีวรรณ เชื้อเจ็ดตน

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี

  • นางสาววชิราภรณ์ ยนต์วิเศษ

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์

  • นางสาวอุไรวรรณ บุญจันทร์

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก

  • นางสาววัชรี ประสิงห์

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 10 จังหวัดเชียงใหม่

  • นางสาวชฎาพร จุติชอบ

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช

  • นางสาวสุภัตตรา มิถุนดี

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 12 จังหวัดสงขล

  • นางสาวพรทิพย์ รัตจักร์

    หัวหน้าภาคบริการโลหิตแห่งชาติ จังหวัดภูเก็ต

ศูนย์ผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสมา

ภก.ดร.นรินทร์ กิจเกรียงไกรกุล

ผู้ช่วยผู้อำนวยการ ด้านบริหารศูนย์ผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสมา

  • ภญ.พัฒนา มังจักร

    ผู้จัดการศูนย์ผลิตผลิตภัณฑ์จากพลาสมา

  • นายวิษณุพร โลเกศเสถียร

    ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม

  • ภญ.วิชชุดา น้อยมณี

    ผู้จัดการฝ่ายผลิต

  • ภญ.ดร. พรทิพย์ เบญจศิริมงคล

    ผู้จัดการฝ่ายประกันและควบคุมคุณภาพ

  • นายณัฐนนท์ กันตา

    ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบริหารและจัดการทรัพยากรบุคคล

  • นางณถาภัช สะอาดดี

    ผู้จัดการแผนกคลังสินค้าและขนส่ง

  • เภสัชกรกิตติพงษ์ วิโยคม

    ผู้จัดการแผนกการตลาดและการขาย

Continue reading

istory of National Blood Centre, Thai Red Cross Society

History of National Blood Centre, Thai Red Cross Society

The National Blood Centre was established following the 17th International Red Cross Conference held in Stockholm, Sweden, which resolved that each national Red Cross society should set up a blood service. The guiding principle was that “blood donors should come with goodwill, without seeking any rewards or expecting returns.”

In 1952, Thailand established a blood service department within the Science Division of the Thai Red Cross Society to respond to the International Red Cross. This developed into the “National Blood Centre,” which was graciously inaugurated by His Late Majesty King Bhumibol Adulyadej and Her Majesty Queen Sirikit, the Queen Mother of Thailand, who officially opened the “Rangsit Memorial Building” for blood services in 1953. On October 13, 1969, the King inaugurated the “National Blood Centre Building” to serve as the new blood service facility, marking a significant and auspicious event for the organization. Thus, October 13 is celebrated annually as the founding day of the National Blood Centre.

On March 25, 2009, Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, the Executive Vice President of the Thai Red Cross Society, presided over the opening ceremony of the Queen’s Honor Building, which continues to serve as the operational base for the National Blood Centre to this day.

Over 55 years of operation, the National Blood Centre has provided blood services to enhance the quality of life for the public in medical and health aspects, adhering to a customer-centered policy that includes blood donors, patients, and hospitals needing blood for treatment. The operational principles are as follows:

  • Quality

    Quality: Donated blood must meet the highest standards of quality and safety for patients, supported by continuous academic, research, and innovation developments for effective blood and blood component services. This includes modern blood testing laboratories, blood bag production facilities, blood typing reagent production, and a variety of blood products.

  • Accountability

    Accountability: The centre is committed to providing quality blood services that are sufficient and timely to meet national demands throughout the year. The organization continuously develops itself as a reliable reference for blood services in the country, utilizing new innovations to enhance various technologies, including research for academic excellence and proactive campaigns to recruit blood donors. It has established 12 Regional Blood Centres across major provinces to provide comprehensive and standardized blood services.

  • Caring

    Caring: Building virtues within the organization, such as quality, responsibility, and caring, is crucial to ensure personnel act according to ethical standards and governance, which is the Red Cross culture. This foundation fosters a happy work environment, positive attitudes, and effective collaboration across the organization, creating a pleasant workplace and leading to successful operations.

Continue reading